วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556

รถ AGV ในงานอุตสาหกรรม

                                                                      AGV  คือ

รถขนส่งเคลื่อนที่อัตโนมัติ AGV มีหลายชนิดให้เลือกตามความเหมาะสมของการใช้งานตั้งแต่ การใช้งานแบบลากจูง container ,แบบยก container จนถึงแบบรถยก (Forklift) ในลักษณะต่างๆ โดยมีระบบควบคุมเส้นทางและนำทางการขับเคลื่อน (The Vihicle Navigation & Guidance System) ด้วยการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบควบคุมโดยการ ตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์เพื่อให้รถ AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้
รถ AGV แต่ละชนิดรับน้ำหนักได้ต่างกันตั้งแต่ 400-1,200 กิโลกรัม หรือมากกว่า ขึ้นอยู่กับการใช้งานแต่ละประเภท โดยมีความเร็วในการขับเคลื่อน 1.2-1.7 เมตร ต่อวินาที

รถ AGV ทุกคันจะติดตั้งระบบเลเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวที่ประกันได้ว่ามีระดับความปลอดภัยสูงสุด โดยติดตั้งทั้งด้านหน้าและหลังของตัวรถ และแบ่งการเตือนภัยออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่เตือนภัย( Warning Area)และพื้นที่หยุด (Stopping Area) กล่าวคือ ถ้ามีบุคคลเดินเข้าในเขตพื้นที่เตือนภัย รถ AGV จะลดความเร็วลงจากความเร็วสูงสุด (Maximum Speed) เป็นลักษณะแบบเคลื่อนที่ช้า (Crawling Speed) และถ้าตรวจจับได้ในพื้นที่หยุด รถ AGV จะหยุดทันที โดยระยะทางของพื้นที่เตือนและพื้นที่หยุด จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับความเร็วของรถ AGV

ทั้งนี้แบตเตอรี่ที่ใช้เป็นแบบ Maintenace Free สามารถใช้งานได้ติดต่อกันแบบต่อเนื่องนานถึง 8-10 ชั่วโมง โดยไม่ต้องนำแบตเตอรี่ออกจากตัวรถ



ประโยนช์ของรถ AGV 

รถ AGV power stacker 1 คัน สามารถขับเคลื่อนโดยไม่ต้องใช้พนักงานขับ จะสามารถประหยัด 
ค่าแรงคนงาน ได้ดังนี้ (ประมาณการที่ค่าแรงขั้นต่ำ300บาท และค่าสวัสดิการอื่นๆ)

ถ้าใช้งานAGV 1 กะ:วัน (8ชม.) ลดค่าใช้จ่ายแรงคนงาน 1 คน = 10,000 ฿:เดือน หรือ = 120,000฿:ปี 
ถ้าใช้งานAGV 2 กะ:วัน (16ชม.)ลดค่าใช้จ่ายแรงคนงาน 2 คน = 20,000 ฿:เดือน หรือ = 240,000฿:ปี 
ถ้าใช้งานAGV 3 กะ:วัน (24ชม.) ลดค่าใช้จ่ายแรงคนงาน 3 คน = 30,000 ฿:เดือน หรือ = 360,000฿:ปี  

ในการลงทุนปรับปรุงรถยกให้เป็นรถ AGV ประมาณเบื้องต้นว่า มีค่าใช้จ่ายราว 300,000 ฿ ต่อคัน จะสามารถคืนทุนในเวลา 
2ปี 6 เดือน ถ้าใช้งาน 1 กะ:วัน
1ปี 3 เดือน ถ้าใช้งาน 2 กะ:วัน 
เพียง 10 เดือน ถ้าใช้งาน 3 กะ:วัน 
ซึ่งถ้าลงทุนใช้รถ AGV หลายคันทางบริษัทก็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายได้อีกเป็นอัตราเพิ่มขึ้น
ใน กรณีศึกษา ที่มีการใช้คนงาน 6 คน และ รถ Power stacker 3 คัน  หากมีการใช้ AGV power stacker แทน และใช้งานถึง 3 กะ ปริมาณงานที่ได้จาก รถAGV
 ก็จะเท่ากับ ปริมาณงานของคนงานถึง 9 คน นั่นคือผลกำไรที่ได้คืนมา ประมาณ 90,000 บาทต่อเดือน หรือ 1,080,000 บาทต่อปี  

เพิ่มประสิทธิภาพและปริมาณการทำงาน 

รถAGV เริ่มงานได้ตรงเวลา ตั้งแต่ 8 โมงเช้า ถึง 5 โมงเย็นโดยไม่ต้องหยุดพัก เข้าห้องน้ำ ทานกาแฟ สูบบุหรี่ หรือ คุยโทรศัพท์ 

รถAGV ไม่ลาหยุด หรือ ลากิจ ไม่ขาดงานบ่อย งานจะเดินได้สม่ำเสมอ 

กรณี รถเสียทางบริษัทมีบริการ Service online เป็นบริการที่รวดเร็ว และมีค่าใช้จ่ายน้อย หรือถ้าต้อง มีการ service onsite เราก็สามารถบริการได้รวดเร็ว
เพราะเป็นช่างในเมืองไทย ไม่ต้องรอจากต่างประเทศ 

ความคุ้มทุนจึงเกิดจากปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นด้วย

ลดต้นทุนแฝงด้านความเสียหายที่เกิดจากคนขับ

ความ ผิดพลาดจากมนุษย์เป็นเรื่องปรกติ การขับเฉี่ยว ชน เกิดขึ้นจากความประมาท เลินเล่อ ซึ่งจะไม่เกิดขึ้นกับรถAGV เป็นการลดความเสียหายของสินค้า
และตัวรถยกเองก็มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น 
การ ลงทุนด้าน Automation จึงเป็นการลงทุนที่คุ้มในระยะยาว ช่วยลดต้นทุนความเสียหาย โดยการควบคุมด้วยโปรแกรมอัตโนมัติ และ อุปกรณ์ป้องกันการเฉี่ยว ชน

ความคุ้มทุนจะมาอยู่ที่ประสิทธิภาพการทำงานที่ ปราศจากอุบัติเหตุ ลดค่าใช้จ่ายการซ่อมแซม

เพิ่มภาพลักษณ์ที่ทันสมัยให้แก่บริษัท

เป็น ผลดี ด้านจิตวิทยา ทำให้บริษัทก้าวทันยุค เทียบเท่ากับบริษัทระดับโลก ซึ่งใช้ระบบAutomation  มานานนับทศวรรษแล้ว ในการติดต่อกับลูกค้า โดยเฉพาะบริษัททีมีการติดต่อกับต่างประเทศ
เจ้าของกิจการจะรู้สึกได้เองว่า คุ้ม ที่ได้ปรับปรุงกิจการให้ทันสมัยขึ้น

การ คำนวนนี้ เป็นเพียงการประมาณการ  นักธุรกิจ หรือ นักบริหารที่เปรื่องปราชญ์ อาจจะมองความคุ้มทุนในด้าน automation ได้มากกว่าผุู้เขียนบทความก็เป็นได้

พีเอ็นไครส์

วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุตสาหกรรม 56

รายชื่อสมาชิก

1. อาจารย์   ธภัทร   ชัยชูโชค     อ. ปาล์ม
2. นาย อภิวัฒน์ เจิมขวัญ  กุ้ง
3. นาย ชัยยงค์ ชูแก้ว  ปั้ม
4. นาย วิโรจน์ เหมมาน  ลิฟ
5. นาย อาคม  เรืองกูล  แบงค์
6. นาย อนุพงษ์  เทพพรหม  ทิว
7. นาย กฤษกร  สุวรรณวงศ์  เอฟ
8. นาย จตุพงษ์  ณ สงขลา  พงศ์
9. นาย จิรกิตต์  สุขเกษม  บอย
10. นาย จิรพงศ์  แจ่มศรี  เอฟ
11. นาย  เชิดชาย  เรืองฤทธิ์  ชาย
12. นาย ตวิษ  เพ็งศรี  บ่าว
13. นาย ธีรวุฒิ  ศรีสวัสดิ์  วุฒิ
14. นาย นพรัตน์  แก้วกำเนิด  เอ็กซ์
15. นาย นันทปรีชา  ปิยะ บุญสนอง โปร
16. นาย นิรันดร์  เสมอพบ  แบ
17. นาย นิโรจน์  หวันปรัตน์  ซอล
18. นาย ปภังกร  เอียดจุ้ย  กิ๊ฟ
19. นาย ปรินทร์  ผุดผ่อง  บอล
20. นาย พิชชากร มีบัว  กร
21. นาย พีระพงศ์  จันทร์ชู  พงศ์
22. นาย ภาคภูมิ  จุลนวล  เจ
23. นางสาว เยาวเรศ ร่วมพรภาณุ  โรส
24. นาย  รชต  อารี  รอน
25. นาย รุสดี  วาลี  ซี
26. นาย วสุ  ราชสีห์  หนัง
27. นาย วัชรินทร์  เขียนวารี  ปอนด์
28. นาย วิฆเนศ ณ รังษี  หมู
29. นาย วิโรจน์ เหมมาน  ลิฟ
30. นาย ศุภวัฒน์  ไชยของพรม  รุส
31. นาย สมประสงค์  วงศ์สุวรรณ  ทู
32. นาย สมศักดิ์  มากเอียด  กล้วย
33. นาย สราวุฒิ  เกบหมีน  ซอล
34. นาย สานิต  มิตสุวรรณ  ปอ
35. นาย สุรเดช  สม่าแห  ยา
36. นาย เสะมาดี  ตูแวดาแม   ดี
37. นาย อนิรุตต์  ภาระบุญ  โต๋
38. นาย อภิเดช  ทองอินทร์  โหนด
39. นาย อภิสิทธิ์  ยะโกบ  ดุล
40. นาย อับดุลรอมัน  บูกา
41. นาย อับดุลเลาะ  กาโฮง  เลาะ
42. นาย อาจณรงค์  ราชูภิมนต์  มิค
43. นาย อานนท์  นาควิเชียร  นนท์
44. นาย อาลียะ สะอุ  ฟาน
45. นาย อาหามะซุบฮี  จะแน  มะ
46. นาย  อิสมาแอ  มะยี
47. นาย จตุรงค์  หิรัญกูล  นิว
48.นาย เกรียงศักดิ์  บุญประเสริฐ  เบียร์
49. นาย พุฒิพงศ์  หนูนอง  เพชร
50. นาย วงศธร  อินทมะโน  หมีด

ยินดีต้อนรับสู่บล็อกเกอร์ surasak

ประวัติส่วนตัว

ชื่อนายสุรศักดิ์  สะเกษ
ชื่อเล่น  โจ้
ที่อยู่ 170  ยะลา
เบอร์โทร   0872900514

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบผสม

เแบบผสม (Hybrid Network)


             เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสานระหว่างรูปแบบต่างๆ หลายๆ แบบเข้าด้วยกัน คือจะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย หลายๆ เครือข่ายเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงานเครือข่ายบริเวณกว้างเป็นตัวอย่างเครือข่ายผสมที่พบเห็นกัน มากที่สุด เครือข่ายแบบนี้จะเชื่อมต่อเครือข่ายเล็ก-ใหญ่ หลากหลายแบบเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว ซึ่งเครือข่ายที่ถูกเชื่อมต่ออาจจะอยู่ห่างกันคนละจังหวัด หรือ อาจจะอยู่คนละประเทศก็เป็นได้


ข้อเปรียบเทียบการเชื่อมต่อแบบผสม
ข้อดี
-1. สามารถเข้าถึงเครือข่ายที่อยู่ระยะไกลได้
-2. ทำให้การสื่อสารข้อมูลมีประสิทธิภาพ

ข้อเสีย
-1. ดูแลระบบยาก และเสียค้าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสูง
-2. โครงสร้างมีความซับซ้อนมีรูปแบบไม่แน่นอน

วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เทคโนโลยีการสื่อนสาร

       Facebook (เฟสบุ๊ค) คือ บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการหนึ่ง ที่จะทำให้ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารและร่วมทำกิจกรรมใดกิจกรรม หนึ่งหรือหลายๆ กิจกรรมกับผู้ใช้ Facebook คนอื่นๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งประเด็นถามตอบในเรื่องที่สนใจ, โพสต์รูปภาพ , โพสต์คลิปวิดีโอ, เขียนบทความหรือบล็อก, แชทคุยกันแบบสดๆ , เล่นเกมส์แบบเป็นกลุ่ม (เป็นที่นิยมกันอย่างมาก) และยังสามารถทำกิจกรรมอื่นๆ ผ่านแอพลิเคชั่นเสริม (Applications) ที่มีอยู่อย่างมากมาย ซึ่งแอพลิเคชั่นดังกล่าวได้ถูกพัฒนาเข้ามาเพิ่ม เติมอยู่เรื่อยๆ จนเรียกได้ว่าเลือกใช้กันทั้งปีก็ไม่หมดครับ 

        ที่น่าสนใจที่สุดก็คือ Facebook ยังเปิดโอกาสให้เราได้พบปะสังสรรค์กับเพื่อนๆ ทั้งเพื่อนซี้ เพื่อนเก่าก๊วนรัก เพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนร่วมชมรม เพื่อนของเพื่อนของเพื่อน เพื่อนเราคนบ้าน เดียวกัน และไม่นานนักเราก็จะได้พบกับเพื่อนใหม่ที่ถูกใจจริงๆ ครับ

วิเคราะห์บทความ
ข้อดี

- 1. สามารถแชทคูยกันได้
- 2. ทำให้ได้รู้ข้อมูลของเพื่อนที่เรามีอยู่
- 3. สามารถทำให้เราได้พบปะสังสรรค์กับเพื่อนได้
- 4. 
 มีการอัพเดตข่าวสารตลอดเวลา ทำให้ทันเหตุการณ์จากเพื่อนๆ

ข้อเสีย
- 1. 
ทำให้เสียสุขภาพเมื่อเล่นมากหรือติด เช่น เกม เป็นต้น
- 2. 
มีการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ง่าย
- 3. 
บางครั้งเมื่อเล่นอินเตอร์เน็ตมากๆ อาจทำให้ไม่สนใจการเรียนการศึกษา
- 4. 
ง่ายต่อการถูกลอกลวง